สวัสดีครับพี่น้อง ไม่ได้เข้ามาอัปเดรตบล็อคตัวเองซะนานเลย ช่วงนี้ได้ Server มาใหม่สามตัว เป็น HP DL120 G5 หนึ่งตัว และ HP DL380 G5 อีกสองตัว ก็เลยจับลง FreeBSD 7.2 ซะให้รู้แล้วรู้รอดไปเลย ผลการติดตั้ง ปรากฏว่าเวิร์กครับ เจ้า FreeBSD 7.2 สามารถมองเห็น RAID Controller ของทั้งสองรุ่นนี้ได้อย่างไม่มีปัญหา หลังจากติดตั้งเสร็จก็จัดการ Update ports ด้วยคำสั่งนี้ครับ
#cd /usr/ports/net/cvsup-without-gui
#make install && make clean
#rehash
จากนั้นทำการ Synchronize ports index กับ cvsup server ที่ทาง FreeBSD Engineer หรือ Mirror ได้จัดเตรียมไว้ให้ ด้วยคำสั่งนี้ครับ
#/usr/local/bin/cvsup -g -L 2 -h cvsup2.freebsd.org /usr/share/examples/cvsup/ports-supfile
จากนั้นเคาะ enter 1 ครั้ง แล้วอดใจรอสักครู่ (ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับ Bandwith ท่านนะครับ) เมื่อเรียบร้อยทุกอย่างแล้ว เราก็สั่งให้ FreeBSD fetch index เพื่อทำการปรับปรุง pkg ต่าง ๆ ใน ports ให้เราด้วยคำสั่งนี้
#cd /usr/ports && make fetchindex
ก็เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการ update ports เรียบร้อยแล้วครับ เดี๋ยวตอนต่อไปผมจะ guide เรื่องของการติดตั้ง FAMP บน FreeBSD 7.2 ให้สาวก FreeBSD ได้เป็นแนวทางในการ Config web server. สำหรับบทความนี้แค่นี้ก่อนนะครับ
Good luck && Enjoin.
Friday, July 17, 2009
Thursday, March 19, 2009
รายชื่อเว็บที่เข้าร่วมงาน THINK CAMP
เมื่อเร็ว ๆ นี้นะครับ ในบ้านเราก็มีการจัดงาน Think Camp ซึ่งจัดขึ้นโดยชุมชนคนทำเว็บในเมืองไทย วัตถุประสงค์ก็เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนแนวคิดของการทำเว็บ งานนี้ผมก็ไม่ได้ไปกะเขาหรอกครับ เนื่องงานเวลาไม่ตรงกัน และอะไรอีกหลาย ๆ อย่าง ก็เลยได้รวมรวมรายชื่อเว็บที่เข้าร่วมงานนี้มาไว้ให้ทุกท่านได้เข้าไปแวะเยี่ยมชมดูกัน ซึ่งมีเว็บมาสเตอร์มาจากหลายเว็บมากครับ รายชื่อก็มีดังนี้
ที่มา : duocore.tv
- http://www.thnic.in.th
- http://www.beartai.com
- http://www.googlemaps.in.th
- http://cc.in.th
- http://www.itcoolgang.com
- http://www.elgg.in.th
- http://www.songburi.com
- http://pensri.in.th
ที่มา : duocore.tv
Thursday, March 12, 2009
Drupal - Joomla - Wordpress
ปัจจุบัน มือใหม่หัดขับที่สนใจอยากจะทำเว็บ, เว็บบล็อค คงไม่จำเป็นอีกแล้ว ที่จะมานั่งเขียน html code เอาแค่พอมีพื้นฐานก็พอ เพราะปัจจุบันมีเครื่องมืออำนวยความสะดวกมากมาย เครื่องมือที่ว่านี้เรียกเป็นภาษาปะกิตว่า CMS : Content Management System ซึ่งชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นเครื่องมือจัดการเนื้อหา และมีชุมชมที่ในใช้งานในเมืองไทยค่อนข้างเยอะ หัวข้อก็บอกอยู่แล้วหน่ะครับ คงไม่ต้องบอกว่ามี cms ตัวไหนบ้างที่จัดว่าได้รับความนิยมเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก และของเมืองไทย สำหรับมือใหม่สามารถไปดูข้อมูลได้ที่
Drupal
Joomla
Wordpress เรียงตามตัวอักษรแล้วกันนะครับ
หรือยังตัดสินใจไม่ได้ (หรือแปลไม่ออก) ว่าจะใช้ตัวไหนดี ผมแนะนำให้เข้าไปอ่านที่สองลิงค์ด้านล่างนี้นะครับ เขาเขียนไว้ค่อนข้างดี และคิดว่าท่านจะตัดสินใจได้ง่ายขึ้น ที่สำคัญมีลิงค์ไปยังชุมชนที่ใช้งานเป็นภาษาไทยด้วย
http://itshee.exteen.com/20090308/drupal-joomla-wordpress
แถมให้อีกลิงค์แล้วกันครับ
http://ball.in.th/node/6/why-use-drupal
ที่มา : drupal.in.th
Drupal
Joomla
Wordpress เรียงตามตัวอักษรแล้วกันนะครับ
หรือยังตัดสินใจไม่ได้ (หรือแปลไม่ออก) ว่าจะใช้ตัวไหนดี ผมแนะนำให้เข้าไปอ่านที่สองลิงค์ด้านล่างนี้นะครับ เขาเขียนไว้ค่อนข้างดี และคิดว่าท่านจะตัดสินใจได้ง่ายขึ้น ที่สำคัญมีลิงค์ไปยังชุมชนที่ใช้งานเป็นภาษาไทยด้วย
http://itshee.exteen.com/20090308/drupal-joomla-wordpress
แถมให้อีกลิงค์แล้วกันครับ
http://ball.in.th/node/6/why-use-drupal
ที่มา : drupal.in.th
การ install และ config โปรแกรม vsftpd
(บันทึกกันลืม)
เท่าที่ผมเห็นใช้กันมากๆก็จะมี 2 ตัว คือ vsftpd กับ ProFTPD
โดย ส่วนตัว ผมเลือก vsftpd ครับ เพราะเมื่อก่อนผมใช้ redhat แล้วมันแถมมาตอนลง server ผมก็เลยใช้มันมาเรื่อยๆ (ก็คนมันเคยชินแล้วนี่นา)
แต่ก็นั่นแหละ ใน Ubuntu Server เราต้องลงเอง โดยใช้คำสั่ง
apt-get install vsftpd
จากนั้น เราก็มา config ค่าต่างๆของ FTP Server โดยแก้ไข config file ที่ /etc/vsftpd.conf
การแก้ไข อย่าลืม su ให้เป็น root ก่อนนะครับ ไม่งั้นแก้ไปแก้มา save ไม่ได้ เสียเวลาเราอีก (จากประสบการณ์เคยมาแล้วและเซ็งไปแล้ว)
ในไฟล์ vsftpd.conf แก้ไขค่า
anonymous_enable = NO
# ปิดการใช้ anonymous ftp
write_enable = YES
# ให้ user สามารถใช้ FTP write ได้
local_enable = YES
# ใช้ user จาก /etc/passwd
file_open_mode = 0777 (เพิ่มบรรทัดนี้เข้าไป)
local_umask = 0022
# ให้ file ที่ user upload ขึ้นไป มี permission เป็น 755 อัตโนมัติโดยไม่ต้องมาไล่ chmod กันทีหลัง
chroot_local_user = YES
chroot_list_enable = YES
chroot_list_file = /etc/vsftpd.chroot_list
# ให้ user อยู่แต่ใน home directory ของตัวเองเท่านั้น ยกเว้นให้ผู้ใช้ที่มีชื่ออยู่ในไฟล์ /etc/vsftpd.chroot_list ซึ่งไฟล์นี้ต้องสร้างขึ้นมาใหม่
เมื่อเสร็จแล้ว ให้ save file vsftpd.conf นี้ จากนั้นก็ไปสร้างไฟล์ใหม่ คือ /etc/vsftpd.chroot_list แล้วใส่ชื่อ user ที่ต้องการยกเว้นลงไป
จากนั้น restart service vsftpd โดยใช้ตำสั่ง
/etc/init.d/vsftpd restart
จากนั้นก็ทดลองใช้งาน ftp ครับ
ที่มา : ubuntuclub.com
เท่าที่ผมเห็นใช้กันมากๆก็จะมี 2 ตัว คือ vsftpd กับ ProFTPD
โดย ส่วนตัว ผมเลือก vsftpd ครับ เพราะเมื่อก่อนผมใช้ redhat แล้วมันแถมมาตอนลง server ผมก็เลยใช้มันมาเรื่อยๆ (ก็คนมันเคยชินแล้วนี่นา)
แต่ก็นั่นแหละ ใน Ubuntu Server เราต้องลงเอง โดยใช้คำสั่ง
apt-get install vsftpd
จากนั้น เราก็มา config ค่าต่างๆของ FTP Server โดยแก้ไข config file ที่ /etc/vsftpd.conf
การแก้ไข อย่าลืม su ให้เป็น root ก่อนนะครับ ไม่งั้นแก้ไปแก้มา save ไม่ได้ เสียเวลาเราอีก (จากประสบการณ์เคยมาแล้วและเซ็งไปแล้ว)
ในไฟล์ vsftpd.conf แก้ไขค่า
anonymous_enable = NO
# ปิดการใช้ anonymous ftp
write_enable = YES
# ให้ user สามารถใช้ FTP write ได้
local_enable = YES
# ใช้ user จาก /etc/passwd
file_open_mode = 0777 (เพิ่มบรรทัดนี้เข้าไป)
local_umask = 0022
# ให้ file ที่ user upload ขึ้นไป มี permission เป็น 755 อัตโนมัติโดยไม่ต้องมาไล่ chmod กันทีหลัง
chroot_local_user = YES
chroot_list_enable = YES
chroot_list_file = /etc/vsftpd.chroot_list
# ให้ user อยู่แต่ใน home directory ของตัวเองเท่านั้น ยกเว้นให้ผู้ใช้ที่มีชื่ออยู่ในไฟล์ /etc/vsftpd.chroot_list ซึ่งไฟล์นี้ต้องสร้างขึ้นมาใหม่
เมื่อเสร็จแล้ว ให้ save file vsftpd.conf นี้ จากนั้นก็ไปสร้างไฟล์ใหม่ คือ /etc/vsftpd.chroot_list แล้วใส่ชื่อ user ที่ต้องการยกเว้นลงไป
จากนั้น restart service vsftpd โดยใช้ตำสั่ง
/etc/init.d/vsftpd restart
จากนั้นก็ทดลองใช้งาน ftp ครับ
ที่มา : ubuntuclub.com
Wednesday, March 11, 2009
แนวทางการติดตั้ง LdapServer
มีขั้นตอนดังนี้ครับ
1. apt-get install openldap-servers
2. apt-get inatll openldap-utils
3. vi /etc/openldap/slapd.conf
edit
- suffix "dc=yourdomain,dc=pn"
- rootdn "cn=Manager,dc=yourdomain,dc=pn"
- rootpw yourpassword
save
4. mkdir /etc/openldap/initldap
5. vi /etc/openldap/intldap/init.ldif
dn: dc=your,dc=domain
objectClass: dcObject
objectClass: organization
o: your
dc=yourdomain
dn: cn=Manager,dc=yourdomain,dc=pn
objectclass: organizationalRole
cn: Manager
6. $ slapadd -l /etc/openldap/initldap/init.ldif
***เป็นคำสั่งในการเพิ่มข้อมูลลงในดาต้าเบส
7. slapcat ***test เพื่อดูว่าว่ามีอะไรอยู่ใน ldap
8. vi /etc/openldap/initldap/ou.ldif ***เป็นการสร้างกลุ่มย่อยเช่น กลุ่มนักศึกษา
กลุ่มบุคลากร
หรือ ภาควิชา แผนก แล้วแต่ดีไซน์ครับ แต่นี่ยกตัวอย่างให้ครับ
dn: ou=student,dc=yourdomain,dc=pn
ou: student
objectClass: organizationUnit
dn: ou=staff,dc=yourdomain,dc=pn
ou: staff
objectClass: organizationUnit
9. $ slapadd -l /etc/openldap/initldap/ou.ldif
***เป็นคำสั่งในการเพิ่มข้อมูลลงในดาต้าเบส
10. vi /etc/openldap/initldap/student.ldif ***ตัวอย่างการเพิ่มชื่อนักศึกษารหัส
4530729 เข้าสู่
ระบบครับ
dn: uid=4530729,ou=student,dc=yourdomain,dc=pn
objectClass: top
objectClass: person
objectClass: inetOrgPerson
objectClass: organizationalPerson
objectClass: posixAccount
objectClass: shadowAccount
uid: 4530729
cn: Lakana Chunting
sn: no input
ou: student
description: Student 4530729
uidNumber: 9999 *** ต้องไม่ซ้ำกับใคร
gidNumber:501 *** group number ของแต่ละกลุ่ม
homeDirectory: /tmp
userPassword: {CRYPT}cr.oqTWx9ZdOK
loginShell: /bin/sh
*** userPassword ได้มาจากคำสั่ง $ slappasswd -c crypt -s studentpassword
หลังจาก
ใช้คำสั่งนี้แล้วจะได้พาสเวิร์ดที่เข้ารหัสแล้ว ก็อปปี้แล้วนำมาวาง
การเข้ารหัสตามตัวอย่างเป็น crypt หากจะ
เปลี่ยนการเข้ารหัสให้แทนที่ crypt ด้วยการเข้ารหัสแบบอื่น(มีดังนี้
crypt,smd5,md5,md5crypt,blowfish...)
11. $ slapadd -l /etc/openldap/initldap/student.ldif
***เป็นคำสั่งในการเพิ่มข้อมูลลงในดา
ต้าเบส
12. chown -R ldap.ldap /var/lib/ldap
13. $ service ldap start
******** วิธีทดสอบว่าใช้การได้หรือไม่
$ ldapsearch -h 192.168.xxx.x -x uid=4530729 -b dc=yourdomain,dc=pn
ถ้าได้ผลแบบนี้ ...เวิร์ค
# extended LDIF
#
# LDAPv3
# base <> with scope sub
# filter: uid=4530729
# requesting: ALL
#
dn: uid=4530729,ou=student,dc=human,dc=pn
objectClass: top
objectClass: person
objectClass: inetOrgPerson
objectClass: organizationalPerson
objectClass: posixAccount
objectClass: shadowAccount
uid: 4530729
cn: XXXXXXXXXXX
sn: no input
ou: student
description: XXXXXXXXXXXX
uidNumber: 10000
gidNumber: 504
homeDirectory: /tmp
loginShell: /bin/sh
userPassword:: XXXXXXXXXXXX
mail: XXXXXXXXXXXXX
# search result
search: 2
result: 0 Success
# numResponses: 2
# numEntries: 1
คำสั่ง $ ldapsearch -h 192.168.xxx.x -x uid=4530729 -b dc=yourdomain,dc=pn ต้อง
ระบุพารามิเตอร์ -h กับ -b ถ้าไม่ต้องการระบุทุกครั้งให้แก้ไขแฟ้ม
vi /etc/openldap/ldap.conf
edit
HOST 192.168.xxx.x
BASE dc=yourdomain,dc=pn
save
end........
ที่มา : ThaiAdmin.org
1. apt-get install openldap-servers
2. apt-get inatll openldap-utils
3. vi /etc/openldap/slapd.conf
edit
- suffix "dc=yourdomain,dc=pn"
- rootdn "cn=Manager,dc=yourdomain,dc=pn"
- rootpw yourpassword
save
4. mkdir /etc/openldap/initldap
5. vi /etc/openldap/intldap/init.ldif
dn: dc=your,dc=domain
objectClass: dcObject
objectClass: organization
o: your
dc=yourdomain
dn: cn=Manager,dc=yourdomain,dc=pn
objectclass: organizationalRole
cn: Manager
6. $ slapadd -l /etc/openldap/initldap/init.ldif
***เป็นคำสั่งในการเพิ่มข้อมูลลงในดาต้าเบส
7. slapcat ***test เพื่อดูว่าว่ามีอะไรอยู่ใน ldap
8. vi /etc/openldap/initldap/ou.ldif ***เป็นการสร้างกลุ่มย่อยเช่น กลุ่มนักศึกษา
กลุ่มบุคลากร
หรือ ภาควิชา แผนก แล้วแต่ดีไซน์ครับ แต่นี่ยกตัวอย่างให้ครับ
dn: ou=student,dc=yourdomain,dc=pn
ou: student
objectClass: organizationUnit
dn: ou=staff,dc=yourdomain,dc=pn
ou: staff
objectClass: organizationUnit
9. $ slapadd -l /etc/openldap/initldap/ou.ldif
***เป็นคำสั่งในการเพิ่มข้อมูลลงในดาต้าเบส
10. vi /etc/openldap/initldap/student.ldif ***ตัวอย่างการเพิ่มชื่อนักศึกษารหัส
4530729 เข้าสู่
ระบบครับ
dn: uid=4530729,ou=student,dc=yourdomain,dc=pn
objectClass: top
objectClass: person
objectClass: inetOrgPerson
objectClass: organizationalPerson
objectClass: posixAccount
objectClass: shadowAccount
uid: 4530729
cn: Lakana Chunting
sn: no input
ou: student
description: Student 4530729
uidNumber: 9999 *** ต้องไม่ซ้ำกับใคร
gidNumber:501 *** group number ของแต่ละกลุ่ม
homeDirectory: /tmp
userPassword: {CRYPT}cr.oqTWx9ZdOK
loginShell: /bin/sh
*** userPassword ได้มาจากคำสั่ง $ slappasswd -c crypt -s studentpassword
หลังจาก
ใช้คำสั่งนี้แล้วจะได้พาสเวิร์ดที่เข้ารหัสแล้ว ก็อปปี้แล้วนำมาวาง
การเข้ารหัสตามตัวอย่างเป็น crypt หากจะ
เปลี่ยนการเข้ารหัสให้แทนที่ crypt ด้วยการเข้ารหัสแบบอื่น(มีดังนี้
crypt,smd5,md5,md5crypt,blowfish...)
11. $ slapadd -l /etc/openldap/initldap/student.ldif
***เป็นคำสั่งในการเพิ่มข้อมูลลงในดา
ต้าเบส
12. chown -R ldap.ldap /var/lib/ldap
13. $ service ldap start
******** วิธีทดสอบว่าใช้การได้หรือไม่
$ ldapsearch -h 192.168.xxx.x -x uid=4530729 -b dc=yourdomain,dc=pn
ถ้าได้ผลแบบนี้ ...เวิร์ค
# extended LDIF
#
# LDAPv3
# base <> with scope sub
# filter: uid=4530729
# requesting: ALL
#
dn: uid=4530729,ou=student,dc=human,dc=pn
objectClass: top
objectClass: person
objectClass: inetOrgPerson
objectClass: organizationalPerson
objectClass: posixAccount
objectClass: shadowAccount
uid: 4530729
cn: XXXXXXXXXXX
sn: no input
ou: student
description: XXXXXXXXXXXX
uidNumber: 10000
gidNumber: 504
homeDirectory: /tmp
loginShell: /bin/sh
userPassword:: XXXXXXXXXXXX
mail: XXXXXXXXXXXXX
# search result
search: 2
result: 0 Success
# numResponses: 2
# numEntries: 1
คำสั่ง $ ldapsearch -h 192.168.xxx.x -x uid=4530729 -b dc=yourdomain,dc=pn ต้อง
ระบุพารามิเตอร์ -h กับ -b ถ้าไม่ต้องการระบุทุกครั้งให้แก้ไขแฟ้ม
vi /etc/openldap/ldap.conf
edit
HOST 192.168.xxx.x
BASE dc=yourdomain,dc=pn
save
end........
ที่มา : ThaiAdmin.org
Subscribe to:
Posts (Atom)